กรมปศุสัตว์เตือนภัยด้วยขณะนี้กำลังเข้าสู่ช่วงฤดูหนาว ซึ่งเป็นช่วงที่มักพบการระบาดของโรคปากและเท้าเบื่อยเพิ่มสูงขึ้น เนื่องจากสภาพภูมิอากาศดังกล่าวอาจส่งผลทำให้สัตว์เลี้ยงของเกษตรกรเครียด อ่อนแอ และมีโอกาสติดเชื้อโรคต่าง ๆ ได้ง่าย โดยฉพาะสัตว์พี่ต้องดินทางหรือคลื่อนย้ายจากสถานที่หนึ่งไปยังอีกสถานที่หนึ่ง ประกอบกับยังพบมีการระบาดของโรคปากและเท้าเบื่อยในหลายพื้นที่ของประเทศ ได้แก่ พื้นที่จังหวัดสระบุรี มหาสารคาม ขอนแก่น ประจวบศีรีขันธ์ สงขลา และพัทลุง นอกจากนี้ลักษณะภูมิอากาศดังกล่าว ยังมีความเหมาะสมต่อการคงอยู่ของเชื้อไวรัสปากและเท้าเบื่อยในสิ่งแวดล้อมได้ยาวนานขึ้น จึงมีโอกาสพบการระบาดของโรคเพิ่มขึ้นและส่งผลกระทบต่อความเสียหายให้แก่กษครกรอย่างมากได้ ซึ่งเชื้อไวรัสดังกล่วสามารถแพร่กระจายเข้าไปในฟาร์มของเกษตรกรได้ในช่องทางต่างๆ โดยเฉพาะจากการคลื่อนย้ายสัตว์ ยานพาหนะ และบุคคล รวมถึงคนเลี้ยง ถังนมและอุปกรณ์ที่ใช้ในฟาร์ม เป็นดัน ดังนั้นเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคและความเสียหายแก่เกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ อธิบดีกรมปศุสัคว์ขอความร่วมมือสหกรณ์/สมาคมผู้เลี้ยงสัตว์ ศูนย์รับนม และเกษตรกรผู้เลี้ยงสัตว์ ดังนี้
1.เป็นเครือข่ายการเฝ้าระวัง ค้นหาโรคปากและเท้าเปื่อย โดยทำการตรวจสอบฟาร์มเลี้ยงสัตว์ของเกษตรกรที่เป็นสมาชิการซื้อขายสัตว์ ซื้อขายน้ำนมดิบของท่าน จากข้อมูลที่สงสัยว่าจะมีการเกิดโรคปากและเท้าเบื่อย เช่น ปริมาณผลผลิดน้ำนมเฉลี่ยของฟาร์มที่ลดลงอย่างผิดปกติ หรือสงสัยการเกิดโรคโดยแสดงอาการป่วย ได้แก่ซึม น้ำลายไหล ไม่กินอาหาร หรือเจ็บขา ซึ่งหากทนหรือเครือข่ายของท่านตรวจพบฟาร์มที่เป็นโรคปากและเท้าเบื่อยขอไห้แจ้งเจ้าหน้าที่กรมปศุสัตว์ทราบทันที เพื่อเข้าดำเนินการตรวจสอบ เก็บตัวอย่างเพื่อยืนยันชนิดของเชื้อที่ระบาดและควบคุมโรคโคยเร็ว
- เข้มงวดมาตการความปลอดภัยทางชีวภาพ ได้แก่ พ่นยาฆ่าเชื้อรถจากภายนอกทุกคันที่เข้า-ออกฟาร์มหรือศูนย์รับนมหรือสหกรณ์โคนม คลอดจนป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคปากและเท้าเบื่อยจากผู้ปฏิบัติงานโดยการทำความสะอาดฆ่าเชื้ออย่างสม่ำเสมอ
3.ฟาร์มหรือสัตว์ในฟาร์ม โดยฉพาะในพื้นที่เสี่ยง ที่ยังไม่ได้รับการวัคซีนป้องกันโรคปากและเท้าเปื่อยในรอบรณรงค์ฉีดวัดชีน ให้แจ้งเจ้าหน้าที่ปศุสัตว์อำเภอหรือปศุสัตว์จังหวัดในพื้นที่ เพื่อคำเนินการฉีดวัคซีนให้สัตว์ของเกษตรกรมีภูมิคุ้มกันที่สามารถป้องกันการเกิดโรคได้
4 .ประชาสัมพันธ์นั้นย้ำเกษตรกรที่ยังไม่มีสัดว์ป่วยตัวยโรคปากและเท้าเบื่อย เพื่อป้องกันการนำโรค โดยงดการนำเข้าสัตว์มาเลี้ยงใหม่ จากพื้นที่ที่มีการระบาดของโรคปากและเท้าเบื่อยเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน หรือจนกว่าสถานการณ์การระบาดของโรคสงบ ซึ่งสามารถสอบถามหรือตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สำนักงานปศุสัตว์จังหวัดหรือสำนักงานปศุสัตว์อำเภอในท้องที่